เส้นทางสายเอเชียที่ผ่านประเทศไทย AH 1: บ.คลองลึก (ชายแดนไทย/กัมพูชา) ถึง (ชายแดนไทย/พม่า) แม่สอด รวมระยะทาง 701.0 กม.

Post a reply


This question is a means of preventing automated form submissions by spambots.
Smilies
:) ;) :D ;D >:( :( :o 8) ??? ::) :P :-[ :-X :-\ :-* :'( >:D ^-^ O0

BBCode is ON
[img] is ON
[flash] is OFF
[url] is ON
Smilies are ON

Topic review
   

Expand view Topic review: เส้นทางสายเอเชียที่ผ่านประเทศไทย AH 1: บ.คลองลึก (ชายแดนไทย/กัมพูชา) ถึง (ชายแดนไทย/พม่า) แม่สอด รวมระยะทาง 701.0 กม.

Re: เส้นทางสายเอเชียที่ผ่านประเทศไทย AH 1: บ.คลองลึก (ชายแดนไทย/กัมพูชา) ถึง (ชายแดนไทย/พม่า) แม่สอด รวมระยะทาง 701.0 ก

ข้อมูล by admin2 » Mon Apr 11, 2016 4:32 pm

ทางสายเอเชียอื่นๆ
AH1 20,557 เริ่มต้นจากโตเกียว, ญี่ปุ่น ถึงพรมแดนระหว่างตุรกีกับบัลแกเรีย (ร่วมกับ AH5)
AH2 13,177 เริ่มต้นจากเดนปาซาร์, อินโดนีเซีย ถึงเมรัก, อินโดนีเซีย และจากสิงคโปร์ ถึงโคสราวี, อิหร่าน
AH3 7,331 เริ่มต้นจากอูลัน-อูเด, รัสเซีย (จาก AH6) ถึงถังกู, จีน; และจากเซี่ยงไฮ้, จีน (จาก AH5) ถึงเชียงราย, ไทย และถึงเชียงตุง, พม่า (สิ้นสุดที่ AH2 ทั้งสองสาย)
AH4 6,024 เริ่มต้นจากโนโวซีบีสค์, รัสเซีย (จาก AH6) ถึงมองโกเลีย; และจาก อุรุมชี, จีน (จาก AH5) ถึงการาจี, ปากีสถาน (บรรจบ AH7)
AH5 10,380 เริ่มต้นจากเซี่ยงไฮ้, จีน (จาก AH3) ถึงพรมแดนระหว่างตุรกีกับบัลแกเรีย (ร่วมกับ AH1)
AH6 10,475 เริ่มต้นจากปูซาน, เกาหลีใต้ ถึงพรมแดนระหว่างรัสเซียกับเบลารุส
AH7 5,868 เริ่มต้นจากเยคาเตรินบุร์ก, รัสเซีย ถึงการาจี, ปากีสถาน (บรรจบ AH4)
AH8 4,718 เริ่มต้นจากพรมแดนระหว่างรัสเซียกับฟินแลนด์ ถึงบันดาร์อิหม่าม, อิหร่าน

Re: เส้นทางสายเอเชียที่ผ่านประเทศไทย AH 1: บ.คลองลึก (ชายแดนไทย/กัมพูชา) ถึง (ชายแดนไทย/พม่า) แม่สอด รวมระยะทาง 701.0 ก

ข้อมูล by admin2 » Sun Apr 10, 2016 8:05 pm

คลิกที่ภาพ แล้วเปิดภาพขยายได้นะครับ

เส้นทางสายเอเชียที่ผ่านประเทศไทย AH 1: บ.คลองลึก (ชายแดนไทย/กัมพูชา) ถึง (ชายแดนไทย/พม่า) แม่สอด รวมระยะทาง 701.0 กม.

ข้อมูล by admin2 » Sun Apr 10, 2016 8:04 pm

AH 1 เป็น ทางหลวงสายเอเชีย (Asian Highway) ย่อเป็น AH เป็นโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศในทวีปเอเชียและยุโรป และคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก (เอสแคป) สหประชาชาติ เพื่อปรับปรุงระบบทางหลวงในเอเชีย เป็นหนึ่งในสามเสาหลักของโครงการการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่งทางบกของทวีปเอเชีย อนุมัติโดยคณะกรรมการเอสแคป ในการประชุมครั้งที่ 48 ในปี ค.ศ. 1992 ซึ่งประกอบไปด้วย ถนนสายเอเชีย รถไฟสายทรานส์เอเชีย (TAR) และการอำนวยความสะดวกของโครงการการขนส่งทางบก

ข้อตกลงได้รับการลงนามโดยประเทศต่าง ๆ รวม 32 ประเทศ เพื่อให้ทางหลวงมีเส้นทางเชื่อมต่อกันข้ามทวีป รวมถึงเชื่อมต่อกับทวีปยุโรปอีกด้วย บางประเทศมีส่วนร่วมในโครงการทางหลวง ได้แก่ อินเดีย ศรีลังกา ปากีสถาน จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และบังกลาเทศ[1] ส่วนใหญ่ของเงินทุนมาจากประเทศในเอเชียที่มีความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ เช่น ญี่ปุ่น อินเดีย และจีน ตลอดจนหน่วยงานระหว่างประเทศ เช่น ธนาคารพัฒนาเอเชีย
Image
โดยที่
AH 1: บ.คลองลึก (ชายแดนไทย/กัมพูชา) ถึง (ชายแดนไทย/พม่า) แม่สอด รวมระยะทาง 701.0 กม.
เริ่มจาก บ.คลองลึก (ชายแดนไทย/กัมพูชา) – อรัญประเทศ – สระแก้ว – กบินทร์บุรี – ปราจีนบุรี – นครนายก – หินกอง – กรุงเทพ – อ่างทอง – สิงห์บุรี – ชัยนาท – นครสวรรค์ – กำแพงเพชร – ตาก สินสุดที่ แม่สอด (ชายแดนไทย/พม่า)

Top